ทฤษฏี กับ การทำจริง อะไรสำคัญกว่ากัน (The Daily Drucker EP.11: Practice comes first)
07 ธ.ค. 2563 14:46 น. เข้าชม 709 Innovation
เรามักจะได้ยินการถกเถึยงในเรื่องนี้ บ่อยๆ เช่น
.
ทฤษฏีสำคัญกว่าการปฏิบัติ
.
หรือ
.
ปฏิบัติสำคัญกว่าทฤษฏี
.
ดูเหมือนว่ามันจะเป็นเรื่องของ "คำถามโลกแตก"
.
มาฟังแนวคิดของ Peter Drucker ที่มีกับคำว่า "ทฤษฏี" และ "การปฏิบัติ"
.
หน้าที่ของทฤษฏี ก็คือ ทำให้การปฏิบัติที่พิสูจน์แล้วว่าได้ผล ให้ดูมีโครงสร้าง มีกรอบที่ชัดเจนขึ้น
.
เมื่อ "การปฏิบัติที่พิสูจน์แล้วว่าได้ผล" ถูกทำให้ชัดเจน หรือ ที่เรียกว่า "ทฤษฏี" ก็จะทำให้สิ่งนี้ ง่ายต่อการเรียนรู้ ถ่ายทอด และนำไปประยุกต์ใช้ได้ทั่วไป
.
แต่ถ้าหากยึดติดกับ "ทฤษฏี" มากเกินไป มันก็จะไปจำกัดการเกิดสิ่งใหม่ๆ คือแบบว่า อะไรที่ไม่มีทฤษฏีรองรับ ก็มันจะถูกปฏิเสธ...
.
การสร้างสิ่งใหม่ๆ จำเป็นต้องเริ่มจากการปฏิบัติ หรือ ลงมือทำ หรือ ลองผิดลองถูก
.
การลองผิด ลองถูก คือ ธรรมชาติของการเรียนรู้ของมนุษย์
.
เพราะเราลองผิด ลองถูก ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จนเรามั่นใจ เราจึงเปลี่ยนสิ่งนี้ เป็น "ทฤษฏี" เพื่อให้ง่ายต่อการนำไปประยุกต์ใช้
.
ในชีวิตของคนเรา ล้วนแล้วแต่ต้องใช้ประโยชน์จาก "ทฤษฏี" และ "การปฏิบัติ (การลองผิด ลองถูก)
.
เพราะ "ทฤษฏี" เป็นเรื่องของความรู้ที่ตกผลึกแล้ว
.
แต่ ก็ยังมีองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่รอให้เราค้นพบ หรือ สร้างขึ้นมาใหม่อีกมากมาย ที่ต้องอาศัย "การปฏิบัติ" หรือ "การลองถูก ลองผิด"
.
สองคำนี้ เข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตของเราทุกวัน
.
อย่างไรก็ตาม หากท่านให้ความสำคัญกับ "ทฤษฏี" มากเกินไป จนมองข้าม "การลองถูก ลองผิด" ท่านก็มีโอกาสน้อยที่จะพบสิ่งใหม่ๆ
.
แต่ถ้าท่านจ้องแต่จะ "ปฏิบัติ หรือ ลองผิด ลองถูก" อย่างเดียว โดยมองข้าม "ทฤษฏี" แน่นอนท่านมีโอกาสสร้างสิ่งใหม่ๆ แต่ท่านก็จะมีโอกาสล้มเหลวสูงมาก
.
ชีวิตที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ควรจะเป็นส่วนผสมระหว่าง "การปฏิบัติ หรือ ลองถูก ลองผิด" กับ การประยุกต์ใช้ "ทฤษฏี"
.
ท่านล่ะครับ เป็นพวกไหน ระหว่าง "นักทฤษฏีจ้า" หรือ "นักปฏิบัติจ้า" หรือ เป็นพวก "Hybrid" ที่มีศิลปะในการใช้ "การปฏิบัติ" และ "ทฤษฏี" ได้อย่างลงตัว
.
#ทฤษฏี #ปฏิบัติ #ลองผิดลองถูก #Strategic #Practice #Theory
.
ทฤษฏีสำคัญกว่าการปฏิบัติ
.
หรือ
.
ปฏิบัติสำคัญกว่าทฤษฏี
.
ดูเหมือนว่ามันจะเป็นเรื่องของ "คำถามโลกแตก"
.
มาฟังแนวคิดของ Peter Drucker ที่มีกับคำว่า "ทฤษฏี" และ "การปฏิบัติ"
.
หน้าที่ของทฤษฏี ก็คือ ทำให้การปฏิบัติที่พิสูจน์แล้วว่าได้ผล ให้ดูมีโครงสร้าง มีกรอบที่ชัดเจนขึ้น
.
เมื่อ "การปฏิบัติที่พิสูจน์แล้วว่าได้ผล" ถูกทำให้ชัดเจน หรือ ที่เรียกว่า "ทฤษฏี" ก็จะทำให้สิ่งนี้ ง่ายต่อการเรียนรู้ ถ่ายทอด และนำไปประยุกต์ใช้ได้ทั่วไป
.
แต่ถ้าหากยึดติดกับ "ทฤษฏี" มากเกินไป มันก็จะไปจำกัดการเกิดสิ่งใหม่ๆ คือแบบว่า อะไรที่ไม่มีทฤษฏีรองรับ ก็มันจะถูกปฏิเสธ...
.
การสร้างสิ่งใหม่ๆ จำเป็นต้องเริ่มจากการปฏิบัติ หรือ ลงมือทำ หรือ ลองผิดลองถูก
.
การลองผิด ลองถูก คือ ธรรมชาติของการเรียนรู้ของมนุษย์
.
เพราะเราลองผิด ลองถูก ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จนเรามั่นใจ เราจึงเปลี่ยนสิ่งนี้ เป็น "ทฤษฏี" เพื่อให้ง่ายต่อการนำไปประยุกต์ใช้
.
ในชีวิตของคนเรา ล้วนแล้วแต่ต้องใช้ประโยชน์จาก "ทฤษฏี" และ "การปฏิบัติ (การลองผิด ลองถูก)
.
เพราะ "ทฤษฏี" เป็นเรื่องของความรู้ที่ตกผลึกแล้ว
.
แต่ ก็ยังมีองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่รอให้เราค้นพบ หรือ สร้างขึ้นมาใหม่อีกมากมาย ที่ต้องอาศัย "การปฏิบัติ" หรือ "การลองถูก ลองผิด"
.
สองคำนี้ เข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตของเราทุกวัน
.
อย่างไรก็ตาม หากท่านให้ความสำคัญกับ "ทฤษฏี" มากเกินไป จนมองข้าม "การลองถูก ลองผิด" ท่านก็มีโอกาสน้อยที่จะพบสิ่งใหม่ๆ
.
แต่ถ้าท่านจ้องแต่จะ "ปฏิบัติ หรือ ลองผิด ลองถูก" อย่างเดียว โดยมองข้าม "ทฤษฏี" แน่นอนท่านมีโอกาสสร้างสิ่งใหม่ๆ แต่ท่านก็จะมีโอกาสล้มเหลวสูงมาก
.
ชีวิตที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ควรจะเป็นส่วนผสมระหว่าง "การปฏิบัติ หรือ ลองถูก ลองผิด" กับ การประยุกต์ใช้ "ทฤษฏี"
.
ท่านล่ะครับ เป็นพวกไหน ระหว่าง "นักทฤษฏีจ้า" หรือ "นักปฏิบัติจ้า" หรือ เป็นพวก "Hybrid" ที่มีศิลปะในการใช้ "การปฏิบัติ" และ "ทฤษฏี" ได้อย่างลงตัว
.
#ทฤษฏี #ปฏิบัติ #ลองผิดลองถูก #Strategic #Practice #Theory
Comment